ถวายพระ
ถวายพระ คือการที่ชาวพุทธนำของไปถวายพระภิกษุ ถวายพระจัดเป็นการทำทาน จึงเรียกอีกอย่างว่า สังฆทาน เพื่อเข้าใจการ ถวายพระ จึงควรมารู้จักกับสังฆทานก่อน
ในปัจจุบันคนนิยมทำบุญด้วยการ ถวายสังฆทาน กันมาก เพราะสามารถทำได้ทุกวันที่ตนเองสะดวก ไม่จำกัดว่าต้องเป็นวันพระเท่านั้น และยังใช้เวลาไม่นาน มาดูกันว่าขั้นตอนการถวายสังฆทานที่ถูกต้อง ทำอย่างไร
แบบไหนคือสังฆทาน
สิ่งสำคัญที่เราต้องทำความเข้าใจเป็นอย่างแรก คือ การทำบุญ แบบสังฆทาน (สังฆะ – หมู่สงฆ์, ทาน – การให้) ไม่ได้หมายถึงการ ถวายถังเหลือง และไม่ได้หมายถึงการนิมนต์พระ 4 รูปขึ้นไปมานั่ง เรียงกันแล้วถวายปัจจัย 4
การทำบุญจะเป็นแบบสังฆทานหรือไม่ไม่ได้ขึ้นอยู่กับสิ่งของ ที่เราถวาย แต่ขึ้นอยู่กับลักษณะการทำบุญที่ต้องเป็นแบบไม่เจาะจง ผู้รับ เป็นการทำบุญให้พระพุทธศาสนาโดยรวม โดยการทำบุญ ที่นับได้ว่าเป็นสังฆทานควรจะมีองค์ประกอบครบ 3 ข้อ ดังนี้
- จิตของคนทำบุญ จะต้องไม่ยึดติดว่าอยากทำบุญกับพระ รูปใดเป็นพิเศษ เป็นจิตที่มุ่งถวายให้หมู่สงฆ์ในพระพุทธศาสนาโดยรวม
- พระที่รับของทำบุญจะต้ องเป็ นตัวแทนของพระพุทธศาสนา หรือวัด เช่น เราแจ้งกับทางวัดว่าจะนิมนต์พระมาจำนวน กี่รูป แล้วให้ทางวัดส่งพระที่เป็นตัวแทนมา ซึ่งในกรณี แบบนี้ ไม่ว่าเราจะนิมนต์พระกี่รูปก็ถือว่าเป็นตัวแทน พระพุ ทธศาสนาทั้งสิ้น (1 รู ปก็ ได้ แต่ โดยทั่วไปจะนิมนต์ 4 รูปขึ้นไป) แต่ถ้าเราไปหาพระแล้วนิมนต์ท่านทีละรูป แบบนี้แม้ว่าจะนิมนต์มามากแค่ไหน ก็ถือว่าเป็นการนิมนต์ แบบเจาะจงทีละรูป จึงไม่ถือว่าเป็นตัวแทนของพระพุทธศาสนาหรือวัด
- ของที่ถวาย จะต้องตกเป็นของพระพุทธศาสนาหรือของ ส่วนกลางก่อน แล้วหลังจากนั้นเป็นหน้าที่ของหมู่สงฆ์ หรือทางวัดจะจัดสรรและแบ่งปันกันตามความเหมาะสม เช่น หมู่สงฆ์ให้พระรูปใดรูปหนึ่งเป็นตัวแทนในการรับ ของทั้งหมด แล้วนำของดังกล่าวเข้ากองกลางของวัด หลังจากนั้นหากพระรูปใดมีความจำเป็นต้องใช้สิ่งใด ทางวัดจะจัดสรรให้ตามความเหมาะสม หรือเวลาที่นิมนต์ พระมาแล้วหมู่สงฆ์ให้พระรูปใดรูปหนึ่งเป็นตัวแทนใน การรับ หลังจากรับแล้วพระที่มีพรรษาสูงสุดจะพิจารณา ว่าท่านจะใช้หรือฉันสิ่งนั้นหรือไม่ หากต้องการท่านก็จะ เก็บไว้ แล้วส่งต่อส่วนที่เหลือให้พระที่มีพรรษามากใน ลำดับรองลงมาพิจารณาว่าท่านจะใช้หรือฉันสิ่งใดหรือไม่ แล้วส่งต่อไปเรื่อย ๆ จนถึงพระที่พรรษาน้อยที่สุด ของ ที่เหลือหลังจากนั้นจะเก็บเข้าวัดหรือสละทิ้ง
ทำบุญสังฆทานในงานศพ
แนวทางปฏิบัติว่าเราจะทำบุญแบบ สังฆทานในงานศพได้อย่างไรให้ได้บุญมากกว่าล้านเท่า
- 1. นิมนต์พระกับทางวัด (จะนิมนต์กี่รูปก็ได้)
- 2. ตอนที่ถวายของทำบุญให้ประเคนแด่พระที่พรรษาสูงสุด แล้วให้พระท่านไปแบ่งปันจัดสรรกันเอง (คุยกับพระให้ เข้าใจกันก่อน)
- 3. ส่วนตัวเราก็ไม่ต้องยึดติดว่าอยากทำบุญกับพระรูปไหน ให้ทำด้วยเจตนาที่จะทำบุญกับพระพุทธศาสนาโดยรวม
แบบไหนคือสังฆทาน
สิ่งสำคัญที่เราต้องทำความเข้าใจเป็นอย่างแรก คือ การทำบุญ แบบสังฆทาน (สังฆะ – หมู่สงฆ์, ทาน – การให้) ไม่ได้หมายถึงการ ถวายถังเหลือง และไม่ได้หมายถึงการนิมนต์พระ 4 รูปขึ้นไปมานั่ง เรียงกันแล้วถวายปัจจัย 4 การทำบุญจะเป็นแบบสังฆทานหรือไม่ไม่ได้ขึ้นอยู่กับสิ่งของ ที่เราถวาย แต่ขึ้นอยู่กับลักษณะการทำบุญที่ต้องเป็นแบบไม่เจาะจง ผู้รับ เป็นการทำบุญให้พระพุทธศาสนาโดยรวม โดยการทำบุญ ที่นับได้ว่าเป็นสังฆทานควรจะมีองค์ประกอบครบ 3 ข้อ ดังนี้- จิตของคนทำบุญ จะต้องไม่ยึดติดว่าอยากทำบุญกับพระ รูปใดเป็นพิเศษ เป็นจิตที่มุ่งถวายให้หมู่สงฆ์ในพระพุทธศาสนาโดยรวม
- พระที่รับของทำบุญจะต้ องเป็ นตัวแทนของพระพุทธศาสนา หรือวัด เช่น เราแจ้งกับทางวัดว่าจะนิมนต์พระมาจำนวน กี่รูป แล้วให้ทางวัดส่งพระที่เป็นตัวแทนมา ซึ่งในกรณี แบบนี้ ไม่ว่าเราจะนิมนต์พระกี่รูปก็ถือว่าเป็นตัวแทน พระพุ ทธศาสนาทั้งสิ้น (1 รู ปก็ ได้ แต่ โดยทั่วไปจะนิมนต์ 4 รูปขึ้นไป) แต่ถ้าเราไปหาพระแล้วนิมนต์ท่านทีละรูป แบบนี้แม้ว่าจะนิมนต์มามากแค่ไหน ก็ถือว่าเป็นการนิมนต์ แบบเจาะจงทีละรูป จึงไม่ถือว่าเป็นตัวแทนของพระพุทธศาสนาหรือวัด
- ของที่ถวาย จะต้องตกเป็นของพระพุทธศาสนาหรือของ ส่วนกลางก่อน แล้วหลังจากนั้นเป็นหน้าที่ของหมู่สงฆ์ หรือทางวัดจะจัดสรรและแบ่งปันกันตามความเหมาะสม เช่น หมู่สงฆ์ให้พระรูปใดรูปหนึ่งเป็นตัวแทนในการรับ ของทั้งหมด แล้วนำของดังกล่าวเข้ากองกลางของวัด หลังจากนั้นหากพระรูปใดมีความจำเป็นต้องใช้สิ่งใด ทางวัดจะจัดสรรให้ตามความเหมาะสม หรือเวลาที่นิมนต์ พระมาแล้วหมู่สงฆ์ให้พระรูปใดรูปหนึ่งเป็นตัวแทนใน การรับ หลังจากรับแล้วพระที่มีพรรษาสูงสุดจะพิจารณา ว่าท่านจะใช้หรือฉันสิ่งนั้นหรือไม่ หากต้องการท่านก็จะ เก็บไว้ แล้วส่งต่อส่วนที่เหลือให้พระที่มีพรรษามากใน ลำดับรองลงมาพิจารณาว่าท่านจะใช้หรือฉันสิ่งใดหรือไม่ แล้วส่งต่อไปเรื่อย ๆ จนถึงพระที่พรรษาน้อยที่สุด ของ ที่เหลือหลังจากนั้นจะเก็บเข้าวัดหรือสละทิ้ง
ทำบุญสังฆทานในงานศพ
แนวทางปฏิบัติว่าเราจะทำบุญแบบ สังฆทานในงานศพได้อย่างไรให้ได้บุญมากกว่าล้านเท่า- 1. นิมนต์พระกับทางวัด (จะนิมนต์กี่รูปก็ได้)
- 2. ตอนที่ถวายของทำบุญให้ประเคนแด่พระที่พรรษาสูงสุด แล้วให้พระท่านไปแบ่งปันจัดสรรกันเอง (คุยกับพระให้ เข้าใจกันก่อน)
- 3. ส่วนตัวเราก็ไม่ต้องยึดติดว่าอยากทำบุญกับพระรูปไหน ให้ทำด้วยเจตนาที่จะทำบุญกับพระพุทธศาสนาโดยรวม
กลุ่มแม่บ้านอบจ.นครราชสีมาร่วมมือร่วมใจกันทำหน้ากากอนามัยถวายพระ
กลุ่มแม่บ้านอบจ.นครราชสีมาร่วมมือร่วมใจกันทำ หน้ากากอนามัยถวายพระ เมื่อวันที่ 24 มีนาคม เวลา 13.00 น. ที่ผ่านมา ร้อยตรีหญิงระนองรักษ์ สุวรรณฉวี นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา พร้อมด้วยกลุ่มแม่บ้าน อบจ. ได้รวมตัวกันที่บ้านพักฯของเธอ เพื่อช่วยกันตัดเย็บผ้าจีวรเป็น หน้ากากอนามัยถวายพระ ภิกษุ-สามเณรในจังหวัดนครราชสีมา รต.หญิง ระนองรักษ์ นายก อบจ.นม. บอกว่า จังหวัดนครราชสีมามีพระภิกษุ-สามเณรจำนวนหลายหมื่นรูป ซึ่งเป็นจำนวนที่มากที่สุดในภูมิภาค อบจ.นม.ห่วงใยสุขภาพของพระภิกษุ-สามเณร และพบว่ามีหลายวัดที่จัดกิจกรรมทางศาสนาแต่พระภิกษุ-สามเณรไม่สวมหน้ากากอนามัยเพื่อป้องกันโควิด-19 หากรอการถวายจากหน่วยงานรัฐเกรงว่าจะไม่ทันการ พระภิกษุ-สามเณรอาจติดเชื้อโควิด-19 จากญาติโยมที่มาทำบุญที่วัด เธอว่าการทำหน้ากากอนามัยถวายพระภิกษุ-สามเณรนั้นถ้าไม่ใช้จีวรจะดูไม่เหมาะสม เธอจึงได้รับจีวรจากพระสงฆ์สังกัดวัดสุทธจินดาวรวิหารมาใช้เป็นวัตถุดิบในการทำ จากนั้นได้ระดมแม่บ้านมาช่วยกันที่บ้านพักของเธอ ซึ่งสามารถตัดเย็บหน้ากากอนามัยได้ถึง 100 ชิ้นต่อวัน แต่ตอนนี้ปัญหาคือขาดแคลนวัตถุดิบ เช่น ผ้าจีวรและผ้ากรองซึ่งหาได้ยากในตอนนี้ ร้อยตรีหญิงระนองรักษ์ สุวรรณฉวีจึงขอเปิดรับบริจาควัตถุดิบเหล่านี้ หากวัดใดมีความต้องการหน้ากากอนามัยให้แจ้งความประสงค์มาที่ศูนย์ประสาน อบจ.นม. ที่มีประจำอยู่ทั้ง 32 อำเภอ ที่มาและภาพ : https://siamrath.co.th บทความน่าสนใจ […]
สังขยาใบเตย ในฟักทอง เมนูสังขยาหอมๆ ถวายพระ ในวันสำคัญ – A Cuisine
วันเข้าพรรษา เป็นวันสำคัญอีกวันหนึ่งทางพุทธศาสนา คือวันที่พระภิกษุสงฆ์เถรวาทจะอธิษฐานว่าจะพักประจำอยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่ง ตลอดระยะเวลาฤดูฝนที่มีกำหนดเป็นระยะเวลา 3 เดือน ตามที่พระธรรมวินัยบัญญัติไว้ โดยไม่ไปค้างแรมที่อื่น หรือที่เรียกติดปากกันโดยทั่วไปว่า “จำพรรษา”นั่นเอง